...
ทุกข์ในมุมมองของพุทธปรัชญา
ผู้แต่ง
ลำครองสิทธิ์ คำสงค์

บทคัดย่อ

พุทธปรัชญามีทัศนะหรือมุมมองต่อทุกข์ใน 2 ลักษณะ คือ ทุกข์ในไตรลักษณ์กับทุกข์ในอริยสัจ ทุกข์ในไตรลักษณ์มีลักษณะที่คงทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ มีสภาวะเป็นอนิจจังคือไม่เที่ยงต้องเปลี่ยนแปลงจากภาวะหนึ่งไปสู่อีกภาวะหนึ่งอยู่ตลอดเวลาไม่อาจดำรงอยู่ในสภาพนั้นได้ เหตุแห่งการเกิดทุกข์ในไตรลักษณ์จึงมาจากความไม่เที่ยงเพราะถูกปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนทุกข์ในอริยสัจเป็นความทุกข์ที่เกิดจากตัณหาและอุปาทานคือความ   ยึดมั่น ถือมั่นในขันธ์ 5 ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ

          การศึกษาหลักคำสอนเรื่องทุกข์ในมุมมองของพุทธปรัชญาครั้งนี้จะมีประโยชน์ต่อชีวิตก็ต่อเมื่อได้รู้ว่าทุกข์คืออะไร สาเหตุของทุกข์มาจากไหน และวิธีดับทุกข์คืออะไร แล้วลงมือปฏิบัติตามด้วยศรัทธา มีความเพียร เป็นที่ตั้ง ก็จะทำให้ชีวิตค้นพบความสุขและความสงบร่มเย็นได้ในที่สุด

คำสำคัญ

อริยสัจ 4, ปรัชญา, คำสอน

บรรณานุกรม

พระไตรปิฎภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). เล่มที่ 12,15,17,19,20,22,

โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2554). ไตรลักษณ์, พิมพ์ครั้งที่ 12, โรงพิมพ์พระพุทธศาสนา
          ของธรรมสภา,  กรุงเทพมหานคร.   

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์.        
          พิมพ์ครั้งที่ 27, โรงพิมพ์ บริษัทสหธรรมิกจำกัด, กรุงเทพมหานคร.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559) พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม,
          พิมพ์ครั้งที่ 37, โรงพิมพ์ บริษัทสหธรรมิก จำกัด, กรุงเทพมหานคร.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2562). พุทธธรรม ฉบับบปรับขยาย, พิมพ์ครั้งที่ 8,

โรงพิมพ์ บริษัทสหธรรมิก จำกัด, กรุงเทพมหานคร.

พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). (ม.ป.ป.). คู่มือมนุษย์ : บันไดขั้นแรกของการศึกษาธรรมะ,

สถาบันบันลือธรรม.

พุทธทาสภิกขุ. (2553). แนะแนวจริยธรรมร่วมสมัย ชุดที่ 3 : จุดหมายปลายทางและตัวแท้ของจริยธรรม, สำนักพิมพ์ดวงตะวัน, กรุงเทพมหานคร.

วิโรจ นาคชาตรี. (2554). พุทธปรัชญาเถรวาท, พิมพ์ครั้งที่ 4, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
          กรุงเทพฯ.

สมภาร พรมทา. (2548). พุทธปรัชญา : มนุษย์ สังคม และปัญหาจริยธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์ศยาม, กรุงเทพมหานคร.


หน้า: 145-166

ประเภท: บทความวิชาการ

เผยแพร่: 25 มิ.ย. 2567

View: 83

Download: 34

บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารภูพานสาส์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เท่านั้น
ภาษา
ค้นหา
ผู้ใช้งานเข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 6

วันนี้: 55

เมื่อวานนี้: 163

เดือนนี้: 2,910

ปีนี้: 35,117

จำนวนเข้าชม: 116,929


สำนักงานวารสารภูพานสาส์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 680 ถ.นิตโย ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 โทร 0 4274 4014

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัฐพล ฤทธิธรรม

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวภุลภญา บีลี

โทร: 0636255597 E-Mail : pulpaya@snru.ac.th