...
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้หมวดนำอักษรจีนเพื่อพัฒนาทักษะ การจำคำศัพท์ภาษาจีน
ผู้แต่ง
มินตรา ปริปุณณะ

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะการจำคำศัพท์ภาษาจีนก่อนและหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้หมวดนำตัวอักษรจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้หมวดนำตัวอักษรจีน โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จำนวน 30 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน 2)แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้หมวดนำตัวอักษรจีน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์งานวิจัยครั้งนี้คือ คะแนนเฉลี่ย ( x ̅ ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)  ผลการวิจัยพบว่าผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียนของนักศึกษาที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้หมวดนำตัวอักษรจีน จำนวน 30 คน เมื่อพิจารณาจากคะแนนความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นรายบุคคลพบว่า นักศึกษาได้คะแนนความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นทุกคนและผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้หมวดนำตัวอักษรจีน ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษามีภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก

คำสำคัญ

หมวดนำตัวอักษรจีน / การพัฒนาทักษะการจำคำศัพท์ภาษาจีน / แบบทดสอบ

บรรณานุกรม

จุฑารัตน์ โตแท่น (2558). การพัฒนาการเขียนอักษรจีนโดยใช้แบบฝึกการเขียนอักษรจีน, วิจัยในชั้นเรียน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี

ภูวกร ฉัตรบํารุงสุข. (2559), การศึกษาการเรียนรู้ความหมายของอักษรประสมบอกความหมายและเสียง
          ของนักศึกษาเอกวิชาภาษาจีน,
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2,
          ตุลาคม – ธันวาคม 2559. หน้า 184-218.

รัตนา แสงแก่นเพชร. (2543). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงเรียนเอกชน ในจังหวัด

กาฬสินธุ์. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม.บริหารการศึกษา มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
          มหาสารคาม

อภิญญา สีสมยา. (2562). การพัฒนาแบบชุดฝึกทักษะการฟัง-พูดภาษาจีนเพื่อการศึกษาอย่างยั่งยืน.

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,น.51-62

Jiang Li Ping & Zhao Xiu Juan. (2009). International Chinese Teaching Methods and

Techniques for Teaching a Comprehensive Course. Beijing: Beijing Language and Culture University Press.

Li Zhu ans Jiang Li Ping. (2013). สอนภาษาจีนให้ชาวต่างชาติได้อย่างไร . Beijing: Beijing Language

and Culture University Press.

Ma Ning Ning. (2013). กรณีศึกษาปัญหาการเขียนตัวอักษรจีนของผู้เรียนชาวไทยระดับพื้นฐาน. Beijing:

Beijing Language and Culture University Press

Yang Zhou Ji. (2006). HANYU JIAOCHENG . Beijing: Beijing Language and Culture University
          Press

หฤทัย แซ่จง. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมการจดจําตัวอักษรจีนโดยใช้หมวดนําตัวอักษรสําหรับนักเรียน
          ชาวไทย,  
วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาจีน สําหรับผู้เรียนชาวต่างชาติ
          มหาวิทยาลัยครุศาสตร์เทียนจิน TianjinNormal University, China.


หน้า: 43-72

ประเภท: บทความวิจัย

เผยแพร่: 25 ธ.ค. 2567

View: 428

Download: 77

บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารภูพานสาส์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เท่านั้น
ภาษา
ค้นหา
ผู้ใช้งานเข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 7

วันนี้: 123

เมื่อวานนี้: 372

เดือนนี้: 5,977

ปีนี้: 17,218

จำนวนเข้าชม: 140,326


สำนักงานวารสารภูพานสาส์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 680 ถ.นิตโย ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 โทร 0 4274 4014

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัฐพล ฤทธิธรรม

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวภุลภญา บีลี

โทร: 0636255597 E-Mail : pulpaya@snru.ac.th