...
การทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ภายใต้พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการ กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
ผู้แต่ง
จอมพล พิทักษ์สันตโยธิน และ กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์

บทคัดย่อ

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐ นำความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมาสู่กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมไซเบอร์ที่
บังคับใช้อยู่ในประเทศไทยหลายประการ หนึ่งในประการที่ สำคัญ คือหลักกฎหมาย
ใหม่ที่ให้อำนาจแก่ศาลไทยในการสั่งให้ ทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย
บทความนี้มุ่งที่จะวิเคราะห์เชิงวิพากษ์หลักกฎหมายใหม่นี้ซึ่งบัญญัติไว้มาตรา ๑๖/๑
และมาตรา ๑๖/๒ โดยตั้งข้อโต้แย้งว่าแนวคิดเรื่องการทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ผิด
กฎหมายดังที่กล่าวมานี้เป็นคนละแนวคิดกับเรื่องของสิทธิที่จะถูกลืม (the right to be
forgotten) หรือสิทธิในการลบ(the right to erase) ตามGeneral Data Protection
Regulation (GDPR) ของสหภาพยุโรป นอกจากนี้บทความนี้ต้องการที่จะชี้ให้เห็นถึง
ประเด็นสำคัญอื่นๆที่เกี่ยวกับการตีความตัวบทกฎหมายและการบังคับใช้ของมาตราทั้ง
สองนี้ เช่น “คำพิพากษา” “การเผยแพร่โฆษณาคำพิพากษา” และ“การทำลาย
ข้อมูลคอมพิวเตอร์”

คำสำคัญ

กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, การทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์, สิทธิ ที่จะถูกลืม, การตีความและการบังคับใช้กฎหมาย


หน้า: 38-60

ประเภท: บทความวิชาการ

เผยแพร่: 1 ก.พ. 2562

View: 183

Download: 33

บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารภูพานสาส์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เท่านั้น
ภาษา
ค้นหา
ผู้ใช้งานเข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 9

วันนี้: 246

เมื่อวานนี้: 163

เดือนนี้: 3,101

ปีนี้: 35,308

จำนวนเข้าชม: 117,120


สำนักงานวารสารภูพานสาส์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 680 ถ.นิตโย ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 โทร 0 4274 4014

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัฐพล ฤทธิธรรม

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวภุลภญา บีลี

โทร: 0636255597 E-Mail : pulpaya@snru.ac.th